วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552

X.25

เครือขาย X.25 แพ็กเจสวิตช (X.25 Packet Switched Network)
เครือขาย X.25 แพ็กเจสวิตช หรือเรียกสั้นๆ วา เครือขาย X.25 เปนเครือขายสาธารณะประเภท WAN(Wide Area Network) สําหรับการสงขอมูลดิจิตอลทางไกล มีความสามารถในการตรวจสอบและแกไขขอมูลไดเครือขาย X.25 เปนเครือขายการสงขอมูลดิจิตอลสาธารณะที่ไดรบความนิยมมาก หลักในการสงขอมูลจะใชหลักการเดียวกับการสงขอมูลผานเครือขายแพ็กเกจสวิตช
ขอมูลทั้งหมดที่ตองการจะสงใหแกอุปกรณคอมพิวเตอรปลายทางที่อยูไกลออกไป จะถูกแบงออกเปน
บล็อกขอมูลขนาดเล็กเรียกวา แพ็กเกจ แตละแพ็กเกจจะประกอบดวยสวนหัวซึงจะบอกขาวสารตางๆ เกี่ยวกับขอมูลรวมทั้งตําแหนงของปลายทางของขอมูล เครือขายจะทําการสงขอมูลแบบซิงโครนัสดวยโปรโตคอลควบคุมการจัดการขอมูล และเสนทางของขอมูลซึ่งเปนโปรโตคอลแบบซิงโครนัส เชน SDLC หรือ HDLC เปนตนขอมูลจะถูกสงผานเครือขายดวยความเร็วสูง และสามารถไปถึงปลายทางไดในเวลาไมถึง 1 วินาที แตละโหนดที่ขอมูลถูกสงผานเขาไปจะเปน Store – and – Forward เพื่อกักเก็บขอมูลไวตรวจสอบ และแกไขขอมูลที่ผิดพลาดทําใหโหนดปลายทางสามารถมั่นใจไดวาขอมูลที่ไดรับมาถูกตองเปนลําดับเชนเดียวกับที่ออกมาจากตนทาง
การติดตอสื่อสารขอมูลในเครือขาย X.25 จะถูกกําหนดใหเปนไปตามมาตรฐาน CCITT RecommendationX.25 เพื่อใหบริษัทผูใหบริการสื่อสารขอมูลตางๆ ยึดถือเปนมาตรฐานเดียวกันในการสง – รับขอมูลผานเครือขายทําใหเครือขาย X.25 ไดรบความนิยมแพรหลาย

องคประกอบที่สาคัญของเครือขาย X.25 แพ็กเกจสวิตช ไดแก
1. สถานีแพ็กเกจสวิตชหรือโหนด เพื่อเก็บกักและสงตอขอมูล รวมทั้งตรวจสอบความผิดพลาดของ
ขอมูล
2. อุปกรณแยกหรือรวมแพ็กเกจ (X.25 PAD) เพื่อแยกขอมูลออกเปนแพ็กเกจ หรือรวมแพกเกจขอมูลรวมทั้งทําหนาที่เปนคอนเวอรเตอร (Converter) คือ จัดการเปลี่ยนแปลงโปรโตคอลของขอมูลที่ตางชนิดกันใหเปนโปรโตคอลชนิดเดียวกัน เพื่อใหสามารถติดตอสื่อสารกันได
3. ศูนยกลางควบคุมแพกเกจ (NCC) หรือ Network Packet Control Center เปนศูนยกลางซึ่งทําหนาที่ควบคุมการทํางานของแพ็กเกจสวิตชของเครือขาย ซึ่งไดแกบริษัทผูใหบริการการสื่อสารขอมูลชนิดนี้
4. แพ็กเกจคอนเซนเตรเตอร ทําหนาที่เปนมัลติเพล็กซ และดีมลติเพล็กซสัญญาณของแพ็กเกจขอมูลที่มาจากแหลงตนทางใหผานรวมกันไปในสายเดียวกันรวมทั้งยังสามารถตรวจสอบความผิดพลาดของขอมูล และจัดการแปลงโปรโตคอลของขอมูลใหเปนแบบเดียวกันไดอีกดวย
5. โปรโตคอล X.25 เปนโปรโตคอลที่ใชในการติดตอสือสารขอมูลภายในเครือขาย X.25 การทํางาน
ของโปรโตคอล X.25 จะทําการติดตอสื่อสารอยูใน 3 เลเยอรลางสุดของสถาปตยกรรมรูปแบบOSI การติดตอสื่อสารเหนือเลเยอรชั้น Network จะเปนหนาที่ของโปรแกรมซอฟตแวรการสื่อสารระหวาง Application – to – Application หรือ User to Application

ISDN

ISDN

ISDN (Integrated Service Digital Network) คือบริการสื่อสารโทรคมนาคมระบบดิจิตอลที่สามารถรับส่งข้อมูลทั้งในระบบภาพ เสียง และข้อมูล ด้วยความเร็ว 128 ทำให้ความเพี้ยนของสัญญาณมีน้อยมาก ตลอดจนสิ่งรบกวนKbps ขึ้นไป ข้อดีของการใช้ ISDN คือความน่าเชื่อถือในการรับส่งข้อมูล อุปกรณ์สื่อสารของผู้ใช้บริการไม่ต้องมีการแปลงสัญญาณ (Conversion) (Noise) ก็จะลดลงด้วย ทำให้ข้อมูลข่าวสารที่รับส่งในโครงข่าย ISDN มีความถูกต้องไว้ใจได้สูงกว่าแบบเดิม

ลักษณะการใช้งานเหมือนกับการหมุนโทรศัพท์ธรรมดาปกติ คือเสียครั้งละ 3 บาท ก่อนจะใช้คุณต้องหมุนโทรศัพท์ไปที่เบอร์ของ ISP ที่เป็น ISDN ด้วยจึงจะได้ความเร็วของ ISDN ตามที่กำหนด

รูปแบบการใช้บริการ ISDN มี 2 แบบ คือ

1. แบบ BRI (Basic Rate Interface) หรือทางองค์การโทรศัพท์เขาเรียกว่า BAI (Basic Access Interface) เป็นรูปแบบการให้บริการด้วยคู่สายโทรศัพท์ธรรมดาจากชุมสาย ISDN จนถึงอุปกรณ์ปลายทาง คู่สายเพียง 1 คู่สาย สามารถที่จะรองรับอุปกรณ์ปลายทางชนิดต่าง ๆ ได้สูงสูด 8 อุปกรณ์และสามารถใช้งานได้ 2 อุปกรณ์พร้อมกันในเวลาเดียวกัน เนื่องจากภายในคู่สาย ISDN แบบ BRI นี้จะประกอบไปด้วยช่องสัญญาณ 2 ช่องโดยแต่ละช่องสามารถให้บริการด้วยความเร็ว 64 Kbps ทำให้ได้ความเร็วรวมสูงสุดถึง 128 Kbps บริการนี้เหมาะสำหรับธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง

2. แบบ PRI (Primary Rate Interface) เป็นรูปแบบการให้บริการโดยการวางเคเบิลแบบไฟเบอร์ออฟติคไปยังตู้สาขาแบบ ISDN (ISDN PABX) ของผู้เช่าเคเบิลเส้นหนึ่งจะช่องสัญญาณอยู่ 30 ช่อง แต่ละช่องให้บริการด้วยความเร็ว 64 Kbps ซึ่งแต่ละช่องสามารถที่จะรวมสัญญาณเข้าด้วยกันทำให้ได้ความเร็วรวมสูงสุด คือ 2.048 Mbps บริการนี้เหมาะสำหรับธุรกิจขนาดใหญ่

Proxy Server ด้วยรูปแบบข้างต้น ระบบของท่านจะต้องทำการติดตั้ง Proxy Serverเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อไปยัง Internet โดย Webpage ต่างๆ ที่ถูกเรียกขึ้นมาใช้จะถูกเก็บไว้ใน Proxy Server และเมื่อ User มีการเรียกใช้ Webpage นั้น Webpageดังกล่าวจะปรากฏขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเวลาถึงข้อมูลจาก Internet มาใหม่

Mail Server การมี mail server ภายในองค์กรเอง เพื่อความคล่องตัวในการจัดการกับ mailbox ของผู้ใช้แต่ละคน โดยสามารถเพิ่มเติม หรือแก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ e-mai lภายในองค์กรของท่าน และเนื่องจากระบบท่านเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา การรับส่ง mail จึงสามารถทำได้ทันที

DNS Server สำหรับดูแลอินเทอร์เน็ตโดเมนขององค์กร และให้บริการแก่ผู้ใช้ภายในองค์กร

Web Server เพื่อให้บริการข้อมูลบน web site ขององค์กร โดยท่านจะใช้ server ของท่านเองเพื่อความคล่องตัว

สิ่งที่ระบบขององค์กรต้องการ

1. ISDN Moderm

2. ISDN 1 คู่สาย

3. ISDN Router หรือ Computer เพื่อทำเป็น Proxy Server

สิ่งที่ เอเน็ต จัดเตรียมให้

1. โทรศัพท์ 1 คู่สาย และ Access Server 1 Post สำหรับการเชื่อมต่อจากท่าน

2. IP Address สำหรับ Server ของท่านที่จะใช้ในการติดต่อสื่อสารข้อมูล

3. จดทะเบียนอินเทอร์เน็ตโดเมนสำหรับองค์กรท่าน (คิดค่าจดทะเบียน)


FTTH – Fiber To The Home

ความเปนมาของ FTTH
แนวความคิดในการนําระบบ FTTH เขามาใชเพื่อเชื่อมโยงสายสงสัญญาณดวยเสนใยนําแสงไปสูบานผูเชาโดยตรง เริ่มขึ้นในราวกลางทศวรรษที่ 1970's แตก็ไมประสบความสําเร็จในเชิงพาณิชย อุปสรรคสําคัญในขณะนั้นคือ ระบบและเสนใยนําแสงมีราคาแพงมาก เมื่อเทียบกับระบบสายสงทองแดง ทําใหภาคธุรกิจไมสนใจลงทุนโดยเฉพาะในสวนที่ตองเชื่อมโยงเสนใยนําแสงสูบานผูเชาโดยตรง และเพื่อเปนการลดตนทุนในสวนนี้ ระบบFTTC (fiber to the curb) และระบบ HFC (hybrid fiber/coax) จึงไดถูกพัฒนาขึ้น โดยระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมานี้จะใชระบบสายสงสัญญาณแบบผสม คือมีท้ังเสนใยนําแสงและสายสงทองแดงใชงานรวมกันในโครงขาย โดยระบบ FTTC จะเนนที่การใชงานสายสงเสนใยนําแสงตลอดโครงขายไปสิ้นสุดยังหัวถนนหรือปากทางเขาหมูบานเทานั้น ในสวนของสายสงที่เขาถึงบานผูเชายังคงเปนสายทองแดงอยู ทําใหระบบ FTTC และ HFC มีราคาถูกลงกวา FTTH (ในขณะนั้น) มาก แตในขณะเดียวกัน ก็สามารถใหบริการขอมูลความเร็วสูงได เพราะโครงขายสวนใหญใชเสนใยนําแสงเปนทอนําสัญญาณ ทั้งนี้ ระบบ HFC กลับเปนที่นิยมกวา FTTC เพราะราคาคอนขางจะถูกกวา เนื่องจากระบบสายสงยังคงมีสวนประกอบของสายสงทองแดงมากกวา ตัวอยางของระบบ HFC ที่นํามาใชในบานเรา ไดแก ระบบเคเบิลทีวี (ที่เปนเคเบิลจริง ๆ ไมใชสวนของการรับสัญญาณผานดาวเทียม)

ขอดีของระบบ FTTH

แนวความคิดของเทคโนโลยี FTTH มีมานานรวม 40 ป แตเพิ่งจะมามีบทบาทตอระบบสื่อสารในชวงเวลาเพียงไมกี่ปมานี้ ทั้งนี้มิใชเพียงแคเหตุผลที่เสนใยนําแสงมีราคาถูกลงเทานั้น แตยังมีองคประกอบอื่น ๆ ที่เปนขอดีของระบบ ดังนี้
• ระบบมีความเร็วสูง (High Capacity)
• เสนใยนําแสงมีขอดีเหนือระบบสายสงอื่นอยางมากตรงที่สามารถสื่อสารขอมูลขนาดใหญมาก ๆได เนื่องจากเสนใยนําแสงมีคุณสมบัติเสมือนเปนทอสงสัญญาณที่มีขนาดใหญมากนั่นเอง ใน ระบบสื่ อ สารป จ จุ บั น การส ง ข อ มู ล แบบดิ จิ ต อลกํ า ลั ง เป น ที่ นิ ย ม เนื่ อ งจากทํ า ให ข อ มู ล มี คุณภาพสูง อยางไรก็ตาม การสรางขอมูลดิจิตอลจากขอมูลดั้งเดิมที่เปนสัญญาณแอนะล็อก (เชน ภาพและเสียง) ทําใหขอมูลมีขนาดใหญกวาเดิมมาก ดังนั้นหากตองการสงขอมูลขนาด ใหญ ใ ห ถึ ง ปลายทางโดยรวดเร็ ว ต อ งส ง ผ า นสายส ง ด วยอั ตราเร็ ว (bit rate) ที่ สู ง ซึ่ ง เส น ใยนํ าแสงสามารถรองรั บการทํา งานในลั กษณะเช นนี้ ได โดยไม จํา เป นต องใช เ ทคนิ คอื่ นเพิ่มเติมก็ได ในสวนของระบบ FTTH เอง ถูกออกแบบใหสามารถสื่อสารขอมูลที่ความเร็วปรกติประมาณ 155 เมกกะบิตตอวินาที (Mb/s) ซึ่งถือวามีความเร็วมากกวาระบบ ADSL (ที่ความเร็วปรกติ 1.5 Mb/s) รวมรอยเทาเลยทีเดียว
• ความเร็วในการสื่อสารขอมูลของ FTTH ที่ใหบริการในบานเรา อาจเริ่มตนที่ความเร็วต่ํากวา 155Mb/s ซึ่งถือวายังต่ํากวามาตรฐานพื้นฐานของมัน แสดงใหเห็นวาระบบ FTTH สามารถรองรับการใชในงานการสื่อสารขอมูลความเร็วสูงมากในอนาคตไดอยางไมตองสงสัย หากผูใชบริการตองการความเร็วที่มากขึ้น (แนนอนก็ตองเสียคาบริการเพิ่มขึ้น) ก็สามารถเลือกความเร็ว (ตามที่ผูให บริการกําหนด)ได มากถึง 622 Mb/s หากขอมูล ที่วิ่ง อยู ระบบ FTTH ทํางานรวมกั บระบบสื่อสารแบบ ATM (Asynchronous Transfer Mode) ในโครงขายสื่อสารที่ใหบริการ
• ยิ่งไปกวานั้น ระบบ FTTH ยังมีความยืดหยุนสูง หากมีการปรับปรุงระบบ PON (Passive
Optical Network ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป) ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น หรือ หากมีการนําระบบ DWDM(Dense Wavelength Division Multiplex) ซึ่งเปนระบบการมัลติเพล็กสเชิงแสงที่ใชความยาวคลื่นแสงเปนคลื่นพาห (carrier) มากกวาหนึ่งความยาวคลื่น (ดังที่ใชในระบบมาตรฐานของFTTH) ก็สามารถเพิ่มความเร็วของ FTTH ไดสูงถึง 2.488 Gb/s เลยทีเดียว.
• เมื่อเปรียบเทียบความเร็วในการสื่อสารขอมูล กับราคาการใหบริการซึ่งอาจสูงกวาระบบ xDSL
ไมมาก จะพบวาคาใชจายตอหนวยขอมูล (เชน y บาทตอขอมูลที่ 1 Mb/s) จะถูกกวาระบบที่ใช
ไฟฟาเปนสื่อสัญญาณมาก